ภาษามีการเปลี่ยนแปลง
๑. กร่อนเสียง
หมากม่วง ð มะม่วง
หมากขาม ð มะขาม
หมากยม ð มะยม
ตาวัน ð ตะวัน
ตาปู ð ตะปู
สายเอว ð สะเอว
สายดือ ð สะดือ
สายดึง ð สะดึง
ฉันนี้ ð ฉะนี้
ฉันนั้น ð ฉะนั้น
สาวใภ้ ð สะใภ้
ตัวขาบ ð ตะขาบ
ต้นเคียน ð ตะเคียน
อันหนึ่ง ð อนึ่ง
๒. กลมกลืนเสียง
อย่างนี้ ð อย่างงี้ ð ยังงี้
อย่างนั้น ð อย่างงั้น ð อย่างงั้น
อย่างไร ð อย่างไง ð ยังไง
๓. เติมเสียง
โดด ð กระโดด
ทำ ð กระทำ
ชิด ð ประชิด
ท้วง ð ประท้วง
๔. กลายความหมาย
อาทิ(แรก,ต้น) ð เช่น
กาลี(หญิงผิวดำ) ð คนชั่ว
๕. เปลี่ยนตัวสะกดการันต์
เสพ , เสพย์ ð เสพ
สาเหตุที่ทำให้ภาษามีการเปลี่ยนแปลง
๑. การพูดกันในชีวิตประจำวัน
๒. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
๓. อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
|