คำภาษาบาลี และสันสกฤต
ภาษาบาลี เป็นภาษาที่ใช้ในพุทธศาสนา เป็นตระกูลเดียวกับภาษาสันสกฤต
ภาษาสันสกฤต รูปลักษณะภาษามีวิภัตติปัจจัย รูปคำสละสลวย ไพเราะ นิยมใช้เป็นคำราชาศัพท์ หรือภาษาในวรรณคดี และชื่อบุคคล
พยัญชนะวรรคภาษาบาลี และสันสกฤต
พยัญชนะวรรคบาลีและสันสกฤต แบ่งออกเป็น ๕ วรรคตามฐานที่เกิดของเสียง
พยัญชนะบาลี มี ๓๓ ตัว
พยัญชนะสันสกฤต มี ๓๕ ตัว (เพิ่ม ศ ษ เข้าไปในพยัญชนะบาลี)
วรรคกัณฐช (ฐานคอ) ก ข ค ฆ ง
วรรคตาลุช (ฐานเพดาน) จ ฉ ช ฌ ญ
วรรคมุทธช (ฐานปุ่มเหงือก) ฏ ฐ ฑ ฒ ณ
วรรคทันตช (ฐานฟัน) ต ถ ท ธ น
วรรคโอษฐช (ฐานริมฝีปาก) ป ผ พ ภ ม
เศษวรรค ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ °
ข้อสังเกตคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต
บาลี
|
สันสกฤต
|
๑. ตัวสะกดตัวตามอยู่ในวรรคเดียวกัน :
|
๑. ไม่มีหลักตัวสะกดตัวตาม :
|
อัคคี มัจฉา ปัญญา มัชฌิม
|
อัคนี มัตสยา ปรัชญา มัธยม
|
๒. ใช้ ส กับพยัญชนะวรรคอื่นๆ
|
๒. ใช้ ส กับพยัญชนะวรรค ต
|
|
( ด ต ถ ท ธ น ) : สตรี สถูป
|
|
สถาน สาธยาย
|
๓. ใช้ ฬ ในคำต่อไปนี้ :
|
๓. ใช้ ฑ ฒ ในคำต่อไปนี้แทน ฬ :
|
จุฬา กีฬา วิฬาร์ ครุฬ อาสาฬห วิรุฬห์
|
จุฑา กรีฑา วิฑาร์ ครุฑ อาษาฒ วิรูฒ
|
|
(วิโรฒ)
|
|
๔. ใช้ ศ ษ : ศึกษา เกษตร
|
|
ใช้ รร : ธรรม ครรภ์
|
|
ใช้ ฤ ฤๅ : ฤทธิ์ ฤๅษี
|
|
ใช้สระไอ สระเอา : ไมตรี เสาร์
|
|
|
|