Home
เรื่องที่ ๑ : ภาษา
เรื่องที่ ๒ : เสียงในภาษา
=> เสียงพยัญชนะ
=> เสียงสระ
=> เสียงวรรณยุกต์
=> แบบฝึกหัดเรื่องที่ ๒
เรื่องที่ ๓ : ลักษณะของภาษาไทย
เรื่องที่ ๔ : อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
เรื่องที่ ๕ : การสร้างคำ
เรื่องที่ ๖ : กลุ่มคำ
เรื่องที่ ๗ : ประโยค
เสียงวรรณยุกต์

ลักษณะของเสียงวรรณยุกต์



                ถ้าเส้นเสียงสั่นสะเทือนมาก (ตึง)  จะเป็นเสียงสูง   

                ถ้าเส้นเสียงสั่นสะเทือนน้อย (หย่อน) จะเป็นเสียงต่ำ
                                           

การผันเสียงวรรณยุกต์



                การผันเสียงวรรณยุกต์ต้องมีความรู้ในเรื่อง   ไตรยางศ์    และ  คำเป็น คำตาย

 

ไตรยางศ์   คือ  อักษร    หมู่   ที่เราแบ่งพยัญชนะไทย  ๔๔  ตัว   ออกเป็นอักษร    หมู่ก็เพื่อประโยชน์ในการผันเสียงวรรณยุกต์

                
อักษรสูง      มี  ๑๑  ตัว   ได้แก่                                 

                                                       (วดองฉันใส่ถุผ้ากให้ษฐี)               


อักษรกลาง  มี     ตัว       ได้แก่                           

                                                          (ไก่จิกเด็กตายบนปากโอ่ง    ฏ)


อักษรต่ำ      มี   ๒๔  ตัว    แบ่งเป็น

                 อักษรต่ำเดี่ยว    มี   ๑๐  ตัว     ได้แก่                                ล   (งูใหญ่นอนอยู่ ริวัดโมฬีก)
                 อักษรต่ำคู่  คืออักษรต่ำที่มีเสียงเดียวกันกับอักษรสูง มี ๑๔ ตัว

                                           มีเสียงเดียวกับอักษรสูง                          

                                              มีเสียงเดียวกับอักษรสูง           

                                                  มีเสียงเดียวกับอักษรสูง               

                                       มีเสียงเดียวกับอักษรสูง             

                                              มีเสียงเดียวกับอักษรสูง          

                                                 มีเสียงเดียวกับอักษรสูง             

                                                  มีเสียงเดียวกับอักษรสูง             

 

คำเป็น   คำตาย

คำเป็น     มีลักษณะดังนี้คือ

                ๑.   ประสมกับสระเสียงยาวในมาตราแม่ ก กา    เช่นคำว่า   ดู   ที่   ขา

                ๒.  ประสมกับสระอำ   ใอ   ไอ   เอา   เช่นคำว่า   กำไร   ให้   เรา

                ๓.   มีตัวสะกดในมาตรา แม่  กง  กน  กม   เกย  และ เกอว

 

คำตาย   มีลักษณะดังนี้คือ

                ๑.   ประสมกับสระเสียงสั้นในมาตรา แม่ ก กา   เช่นคำว่า   ดุ   มะลิ  

                ๒.   มีตัวสะกดในมาตรา แม่ กก   กบ  กด    เช่นคำว่า   เมฆ   จุก   ภาพ   อาจ
                                           

การผันเสียงคำที่มีรูปวรรณยุกต์    :    สังเกตพยัญชนะต้นและรูปวรรณยุกต์

                    อักษรสูง               ผันตรงรูป   ตรงเสียง

                    อักษรกลาง           ผันตรงรูป   ตรงเสียง

                    อักษรต่ำ                ผันด้วย             เป็นเสียง โท

                                                   ผันด้วย              เป็นเสียงตรี

 
การผันเสียงคำที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์  :  สังเกตพยัญชนะต้นและดูว่าคำนั้นเป็นคำเป็น 
หรือคำตาย

                     อักษรสูง        คำเป็น    พื้นเสียงเป็นเสียง                      จัตวา

                                             คำตาย     พื้นเสียงเป็นเสียง                      เอก

                     อักษรกลาง    คำเป็น    พื้นเสียงเป็นเสียง                      สามัญ

                                             คำตาย     พื้นเสียงเป็นเสียง                      เอก

                     อักษรต่ำ         คำเป็น     พื้นเสียงเป็นเสียง                     สามัญ

                                            คำตายสระเสียงสั้น พื้นเสียงเป็นเสียง    ตรี

                                            คำตายสระเสียงยาว พื้นเสียงเป็นเสียง    โท     

                   
                      *
   พื้นเสียง   หมายถึงคำที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์    *


This website was created for free with Own-Free-Website.com. Would you also like to have your own website?
Sign up for free